คณิตศาสตร์ (พื้นฐาน)

สัดส่วน

นักเรียนเคยเรียนและรู้จักอัตราส่วนสองอัตราส่วนที่เท่ากันมาแล้ว  ตัวอย่างเช่น  
 
           4  :  5     =      8  :  10
     

7
  9

  =

21
  27
     

3
  5

  =

15
  25

   ประโยคข้างต้นแสดงการเท่ากันของอัตราส่วนสองอัตราส่วน

  สัดส่วนบางสัดส่วนมีตัวแปรหรือตัวไม่ทราบค่าปรากฏอยู่ด้วย ตัวอย่างเช่น

           4  :  9     =    12  :  m
       5 
  6
 =  x 
40
   
สัดส่วนที่มีตัวแปรดังกล่าว เราสามารถคำนวณหาค่าตัวแปรได้ โดยใช้วิธีการดังนี้
 จากที่นักเรียนเคยทราบมาแล้วว่าอัตราส่วนสองอัตราส่วนเท่ากัน จะแสดงอัตราเดียวกัน ดังนั้น เมื่อมีจำนวนที่ไม่ทราบค่าหรือตัวแปรในสัดส่วน เราสามารถหาจำนวนที่แทนตัวแปรได้ โดยใช้หลักการคูณหรือการหาร  เพื่อทำให้เป็นอัตราเดียวกันก่อน ดังตัวอย่างต่อไปนี้





         
จากข้อสรุปของอัตราส่วนที่เท่ากัน เมื่อมีอัตราส่วนสองอัตราส่วนเท่ากัน ผลคูณไขว้จะเท่ากัน ดังนั้น เมื่อมีจำนวนที่ไม่ทราบค่า ซึ่งแทนด้วยตัวแปรในสัดส่วน เราสามารถหาจำนวนที่แทนตัวแปรได้ โดยใช้การคูณไขว้และแก้สมการ  ดังตัวอย่างต่อไปนี้